อาหารแลกเปลี่ยน ( Food Exchange) เป็นการจัดกลุ่มอาหารโดยยึดปริมาณ
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เป็นหลัก
โดยที่อาหารในแต่ละหมวดจะให้พลังงานและสารอาหารหลัก
ดังกล่าวในปริมาณที่ใกล้เคียงกัน
จึงสามารถนำอาหารภายในหมวดเดียวกันมาแลกเปลี่ยนกันได้ ซึ่งองค์กร
เกี่ยวกับด้านอาหารแห่งสหรัฐอเมริกา คือ American Dietetic Association และ American Diabetes Association เป็นผู้ที่วางแผนจัดทำเมื่อประมาณปี
ค.ศ. 1950
ฝ่ายโภชนาการโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะกรรมการชมรมนักกำหนดอาหารและคณะกรรมการชมรมผู้ให้ความรู้โรคเบาหวาน ได้ระดมความคิดเห็น จากผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งนักกำหนดอาหาร นักโภชนาการ อาจารย์ในสถาบันศึกษาต่างๆ มาร่วมกันจัดทำ “ ตาราง คุณค่าอา หารและรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทย ” เพื่อให้เหมาะสมกับอาหารไทย โดยใช้รายการอาหาร แลกเปลี่ยนจากต่างประเทศ และข้อมูลจากตารางคุณค่าอาหารในส่วนที่กินได้ 100 กรัม ของกอง โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและต่างประเทศมาดัดแปลงและได้นำมา ใช้ในการก าหนด อาหารให้แก่ผู้ป่วยและประชาชนคนไทยทั่วไป
ฝ่ายโภชนาการโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะกรรมการชมรมนักกำหนดอาหารและคณะกรรมการชมรมผู้ให้ความรู้โรคเบาหวาน ได้ระดมความคิดเห็น จากผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งนักกำหนดอาหาร นักโภชนาการ อาจารย์ในสถาบันศึกษาต่างๆ มาร่วมกันจัดทำ “ ตาราง คุณค่าอา หารและรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทย ” เพื่อให้เหมาะสมกับอาหารไทย โดยใช้รายการอาหาร แลกเปลี่ยนจากต่างประเทศ และข้อมูลจากตารางคุณค่าอาหารในส่วนที่กินได้ 100 กรัม ของกอง โภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขและต่างประเทศมาดัดแปลงและได้นำมา ใช้ในการก าหนด อาหารให้แก่ผู้ป่วยและประชาชนคนไทยทั่วไป
ข้าว แป้ง ขนมปัง ธัญพืช อาหารหมวดนี้ ได้แก่ ข้าว ขนมปัง
เมล็ดธัญ พืช และผลิตภัณฑ์จากธัญพืช รวมถึงผักบางชนิดที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง
อาหารว่างบางชนิด และถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ
อาหาร 1
ส่วนให้ คาร์โบไฮเดรต 15 กรัม โปรตีน 2
กรัม ไขมัน 0-1 กรัม ให้พลังงาน 80 แคลอรี
ปริมาณอาหาร 1 ส่วนแตกต่าง กันตามชนิดของอาหาร
ดังนี้
คาร์โบไฮเดรต ยังจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพราะ
คาร์บยังคงเป็นสารอาหารหลักที่ให้พลังงานเป็นอันแรกของร่างกายในสาภวะปกติ
แม้ว่าเราจะลดน้ำหนักด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม หรือ แม้จะทำ keto
แต่เมื่อร่างกายออกจากสาภวะลดน้ำหนัก หรือ
ออกจากสภาวะผิดปกติที่เราสร้างขึ้นมาเองแล้ว ร่างกายจะกลับคืนสู่ปกติ คือ
การกลับไปใช้พลังงานจากคาร์บเป็นพลังงานหลักเช่นเดิม
จึงพบได้เยอะมากว่า สำหรับคนที่ทำคีโตมา แทบไม่กินคาร์บเลย
เมื่อออกจากคีโตแล้ว น้ำหนักกลับพุ่งสูง เกิดความอยากน้ำตาล
อยากข้าวแป้งมากกว่าคนปกติหลายเท่า
จนโยโย่น้ำหนักเท่าเดิมเมื่อเทียบกับตอนที่ยังไม่ได้ลดน้ำหนัก
คาร์บ ยังเป็นสิ่งที่จำเป็นที่เราจะ้องเรียนรู้
เลือกกินมากกว่าการที่เราจะมากลัวนั่นกลัวนี่ อดแป้งไปเรื่อยๆ
ทั้งๆที่ไม่สามารถทำได้ระยะยาวได้ ต้องกลับมาลดน้ำหนักวนไปไม่จบสิ้น
สำหรับหลักการเลิอกcarb สามารถอ่านจากบทความอื่นได้
ตามลิงค์นี้
contract
instragram : https://www.instagram.com/amyamps_hea... facebook :
facebook : https://www.facebook.com/ihealthytoge... blog:
blog: http://amyamps.blogspot.com/
Line : @aui4947n
instragram : https://www.instagram.com/amyamps_hea... facebook :
facebook : https://www.facebook.com/ihealthytoge... blog:
blog: http://amyamps.blogspot.com/
Line : @aui4947n
บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง
รู้เรื่องแป้ง ep.1 : Complex Carb กินแป้งยังไงให้ไม่อ้วน
รู้เรื่องแป้ง ep.2 : ข้าวไรซ์ ข้าวกล้อง ข้าวขาวอะไรดีสุด
รู้เรื่องแป้ง ep.3 : ลดความอ้วน กินข้าวขาวได้ไหม
โภชนาการ ผลไม้ : ผลไม้อะไร กินได้แค่ไหน
โภชนาการ โปรตีน : อาหารแลกเปลี่ยน โปรตีน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น