เมนู

วันศุกร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2566

รวมแหล่งโปรตีนจากพืช



 1. โปรตีนเกษตร

โปรตีนเกษตรแต่ละยี่ห้อจะมีข้อมูลโภชนาการที่แตกต่างกัน

เราสามารถรับประทานโปรตีนเกษตรเพื่อเป็นแหล่งโปรตีนหลักได้  โดยปริมาณโปรตีนเกษตร 100 กรัมจะให้โปรตีนอยู่ที่ 50 กรัมโดยประมาณ

มีใยอาหารสูงมาก ซึ่งจะทำให้มีความรู้สึกอิ่มท้อง และมีกรดอะมิโนที่จำเป็นและมีกดอะมิโนที่จำเป็นครบถ้วน 



2. นมพืช

นมพืชแต่ละชนิดจะให้ปริมาณโปรตีนที่แตกต่างกัน

นมพืชที่มาจากนมถั่วเหลืองจะให้โปรตีนมากที่สุด

นมที่มาจากข้าวโอ๊ดนั้นจะให้คาร์โบไฮเดรตเป็นหลัก ส่วนนมแอลม่อนนั้นจะให้โปรตีนไม่สูงมีไขมันที่ปานกลางและคาร์โบไฮเดรตที่ต่ำ ส่วนนมแอลม่อนนั้นจะให้โปรตีนไม่สูงมีไขมันที่ปานกลางและคาร์โบไฮเดรตที่ต่ำ



3 Nut ถั่วเปลือกแข็งเป็นอีกหนึ่งแหล่งที่ให้โปรตีนจากพืช ข้อดีของการกินถั่วเปลือกแข็งคือนอกจากจะได้โปรตีนแล้วจะได้ไขมันที่ดีด้วย มีปริมาณไฟเบอร์ใยอาหารที่สูงพอสมควร แต่มีไขมันที่สูงมากด้วยเช่นกัน 

จึงต้องมาระมัดระวังหากท่านต้องการจะลดปริมาณไขมันที่สะสม จะต้องกินในปริมาณที่จำกัด



4. ถั่ว Bean 


ในกลุ่มของถั่ว ถั่วที่มีลักษณะเป็นฝักจะให้ปริมาณโปรตีนที่มากกว่าถั่วประเภทเปลือกแข็ง 

เราอาจจะเลือกกินเมล็ดฟักทอง เอามาผสมกับมื้ออาหารหรือเป็นของกินเล่น รวมถึงการกิน chia seed  flexseed ที่อาจใช้มาผสมกับเครื่องดื่ม เพื่อช่วยเสริมทำให้เพื่อช่วยเสริมทำให้รู้สึกอิ่มท้องและได้โปรตีนระหว่างวัน 



5. Tofu เต้าหู้


สารอาหารของเต้าหู้ในแต่ละยี่ห้อนั้นจะมีความแตกต่างกันมาก เนื่องจากขึ้นอยู่กับกระบวนการสกัดและกระบวนการหมักของเต้าหู้ กรณีที่ต้องการที่จะรับประทานเต้าหู้เพื่อให้ได้โปรตีนแนะนำให้กรณีที่ต้องการที่จะรับประทานเต้าหู้เพื่อให้ได้โปรตีนแนะนำให้เลือกเป็นแบบเต้าหู้ firm tofu 

แต่อย่างไรก็ตามเต้าหู้ มีไขมันที่ไม่ต่ำ จึงต้องระมัดระวังในการรับประทานเช่นเดียวกัน





ปล. 1/2 cup = 150-170 grams


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น